ค้นหาชื่อ - คุณสมบัติ อาหาร :
 
 อาหารรสเค็มนำ  ไม่นิยม ใส่น้ำตาล
 ใช้กะทิเป็นส่วนผสมในอาหาร น้อย
  กว่าภาคกลาง นิยมทานอาหารกับพื้น  เรียกว่าโก๊ะข้าว
  หรือ ขันโตก รับประทานข้าวเหนียวเป็นหลัก
 
 อาหารรสจัด  เผ็ดจัด  ส่วนใหญ่ ใช้
 ปลาร้าเป็นส่วนผสมในการปรุงกลิ่น
  และรส  นิยมประกอบอาหาร  โดยการปิ้งหรือย่างมาก
  กว่าทอด รับประทานข้าวเหนียวเป็นหลัก
 
 อาหารรสชาติกลมกล่อม  รสหวาน
 นำเล็กน้อย   วิธีการประกอบอาหาร
  สลับซับซ้อน  นิยมการตกแต่งและประดิดประดอยให้
  สวยงามรับประทานข้าวสวยเป็นหลักโดยนิยมจัดเป็น
  สำรับ
 
 อาหารรสเผ็ดจัด  เค็ม  เปรี้ยว
 ไม่นิยมรสหวาน ส่วนใหญ่ประกอบ
  อาหารจากอาหารทะเลหรือปลาใช้เครื่องเทศมากโดย
  เฉพาะขมิ้น  รับประทานข้าวสวยเป็นหลัก แต่นิยมรับ
  ประทานขนมจีนด้วย
 
 
 
ชื่อโครงการวิจัย
ภาษาไทย การพัฒนาขีดความสามารถด้านฐานข้อมูลเทคโนโลยีเพื่อการถ่ายทอดเผยแพร่ผ่าน
อินเทอร์เน็ต : ฐานข้อมูลอาหารไทยสี่ภาค
ภาษาอังกฤษ Competitive Technological Database Development Project to Support
Technology Transfer on Internet : Thai Cuisine from Four Regions Web
Database
....................................................................................................................................................................
เอกสารอ้างอิง
กระยาทิพย์ เรือนใจ. 2537. กับข้าวชาวใต้. ยูโรปา เพลส บริษัทจำกัด. กรุงเทพ.

. 2541. แนวกินถิ่นอีสาน. สำนักพิมพ์ต้นธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพฯ.

จรรยา สุบรรณ์. 2528. อาหารถนอม - แปรรูปและขนมแห้ง. แพร่พิทยา. กรุงเทพฯ.

จรูญศรี พลเวียง. 2538 . อาหารไทย 4 ภาค. สำนักพิมพ์แม่บ้าน. กรุงเทพฯ.

จารุวรรณ นพณรงค์. 2525 . ทฤษฎีอาหาร 1 อาหารประจำภาค 4 ภาค. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ.
จิราธร จิรประวัติ. 2542 . กับข้าว. บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพฯ.
ฉลาดชาย รมิตานนท์. 2545 . น้ำพริกล้านนา. บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพฯ.
ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์. 2546. ครัวปักษ์ใต้. สำนักพิมพ์แสงแดด. กรุงเทพฯ.
... 2548. ผักพื้นบ้านอาหารสุขภาพ. สำนักพิมพ์แสงแดด
นิตยสารกรูเมท์ เดือนสิงหาคม 2001.
นิตยสารครัว ฉบับที่ 39 ปีที่ 4
นิตยสาร Cuisine ฉบับกรกฎาคม 2001.
บริษัทอายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด. ไม่ปรากฎปีที่พิมพ์. อาหารการกิน.
วันดี ณ สงขลา. ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์. อาหารไทยในวรรณคดี. ผลิตภัณฑ์การพิมพ์. กรุงเทพฯ.
ศรีสมร คงพันธ์. 2535. อาหารเหนือ. โรงพิมพ์ เจฟิล์มโปรเซส. กรุงเทพฯ.
ศรีสมร คงพันธ์ และคณะ. 2535. อาหารปักษ์ใต้. สำนักพิมพ์แสงแดด. กรุงเทพฯ.
.. 2536. อาหารไทย 4 ภาค แสงศิลป์การพิมพ์. กรุงเทพฯ.
สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรสกลนคร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 2543 . “ แนวกิน ” ถิ่น อีสาน. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กรุงเทพฯ.
แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. 2544 . อาหารทรัพย์และศิลป์แผ่นดินไทย.
สำนักพิมพ์แสงแดด. 2540 . อาหารโบราณ.
อบเชย อิ่มสบาย. 2544 . อาหารไทย 4 ภาค. สำนักพิมพ์แสงแดด. กรุงเทพฯ.
อรวสุ นพพรรค์. 2542 . ขนมไทย. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ.
พจนีย์ บุญนา. อาหารพื้นบ้านของไทยภาคใต้. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2537.
วไลภรณ์ สุทธา. อาหารพื้นบ้านของไทยภาคกลางตอนล่าง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2536
เสาวภา ศักยพันธ์. อาหารพื้นบ้านของไทยภาคเหนือ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2534.
จิรพันธ์ ศรีสมพันธุ์. ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์บนอินทราเน็ต. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2543.
จุรีลักษณ์ เบ็ญจชาติ. โปรแกรมระบบฐานข้อมูลเต่าทะเลบนอินเตอร์เน็ต. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2543.
กนกพรรณ แสงสุริยะ. การจัดการฐานข้อมูลด้วย XML กรณีศึกษาเว็บเพจผีเสื้อไทย. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2544 .
พิเชษฐ์ วิจิตรโสภา. ระบบจัดการฐานข้อมูลครุภัณฑ์. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545 .
ณัฐทิตา โรจนประศาสน์ และคณะ. โปรแกรมวิเคราะห์พรรณปลาไทย. รายงานการวิจัยสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง, 2545.
....................................................................................................................................................................